ประเภทของซอฟต์แวร์ประยุกต์


 ประเภทของซอฟต์แวร์ประยุกต์  2 ประเภทคือ

        1.ซอฟต์แวร์พัฒนาขึ้นใช้เองโดยเฉพาะ (Proprietary Software)
        2.ซอฟต์แวร์หาซื้อได้โดยทั่วไป (Packaged Software) มีทั้งโปรแกรมเฉพาะและโปรแกรมมาตรฐาน

                แบ่งกลุ่มตามกลุ่มการใช้งาน จำแนกได้เป็น 3 กลุ่มใหญ่ ดังนี้
1.กลุ่มการใช้งานทางด้านธุรกิจ(Business)
ซอฟต์แวร์กลุ่มนี้ถูกนำมาใช้โดยมุ่งหวังให้การทำงานเอกสาร นำเสนองานและบันทึกนัดหมายต่างๆ โปรแกรมประมวลคำ อาทิ MicrosoftWord

2.กลุ่มการใช้งานด้านกราฟิกและมัลติมีเดีย(Graphic and Multimedie)
โปรแกรมงานออกแบบ อาทิ Microsoft Visio Professional
โปรแกรมแต่งภาพ อาทิ Adobe Photoshop
โปรแกรมตัดต่อวิดิโอและเสียง อาทิ Adobe Premiere,Pinnacle Studio DV
โปรแกรมสร้างสื่อมัลติมีเดีย อาทิ Adobe Authorware , Toolbook Instructor
โปรแกรมสร้างเว็บ อาทิ Adobe Flash , Adobe Dreamweaver

3.กลุ่มการใช้งานบนเว็บ(Wed and communications)
เมื่อเกิดการเติบโตของเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เช่น โปรแกรมตรวจเช็คอีเมล์ การท่องเว็บ การจัดการดูแลเว็บ และการขนส่งข้อความ
โปรแกรมการจัดการอีเมล์ อาทิ Microsoft Outlook
โปรแกรมท่องเว็บ อาทิ Microsoft Internet Explorer
โปรแกรมประชุมทางไกล Video Conference
โปรแกรมนทนาบนอินเทอร์เน็ต อาทิ PIRCH,MIRCH

ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
การใช้ภาษเครื่องนี้ถึงแม้ว่าคอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันที   ภาษาระดับสูงมีอยู่มากมายบางภาษาก็มีความเหมาะสมกับการใช้สั่งงานการคำนวณทางคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ บางภาษาจัดการด้านข้อมูล

ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
เมื่อมนุษย์ต้องการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการทำงานมนุษย์จะต้องบอกขั้นตอนวิธีการให้คอมพิวเตอร์ทราบการสิ่งที่บอกที่มนุษย์เข้าใจให้คอมพิวเตอร์รับรู้และทำงานได้อย่างถูกต้อง จำเป็นต้องมีสื่อกลางถ้าเปรียบเทียมจากชีวิตประจำวันแล้ว


ภาษาคอมพิวเตอร์ในแต่ละยุคประกอบด้วย
ภาษาเครื่อง ถึงแม้คอมพิวเตอร์จะเข้าใจแต่ผู้ใช้คอมพิวเตอร์จะยุ่งยากและที่สุดแล้วมีการพัฒนาให้มีตัวอักษร

ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Languages)
เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 2 ถัดจากภาษาเครื่องช่วยลดความยุ่งยากลงในการเขียนโปรแกรมเพื่อติดต่อกับคอมพิวเตอร์ แต่อย่างไรก็ตาม ก็ยังมีความใกล้เคียงภาษาเครื่องอยู่มากและจำเป็นต้องใช้ตัวแปลภาษา

ภาษาระดับสูง (High-Level Languages)
ยุคที่ 3 เริ่มการใช้ชุดคำสั่งที่เรียกว่า Statements ที่มีลักษณะเป็นประโยคภาษาอังกฤษ ทำให้ผู้เขียนโปรแกรมสามารถเข้าใจชุดคำสั่งเพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานง่ายขึ้น ผู้คนทั่วไปสามารถเรียนรู้และเขียนโปรแกรมได้ง่ายขึ้น เนื่องจากภาษาระดับสูงใกล้เคียงกับมนุษย์
คอมไพเลอร์ (Compiler)
จะทำการแปลโปรแกรมที่เขียนเป็นภาษาระดับสูงทั้งโปรแกรมให้เป็นภาษาเครื่องก่อนแล้วจึงให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามภาษาเครื่องนั้น
อินเทอร์พรีเตอร์ (Interpreter)
จะทำการแปลทีละคำสั่งแล้วให้คอมพิวเตอร์ตามคำสั่งนั้น